ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมภาคเหนือ
ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคเหนือ แบ่ง ๔ กลุ่ม
กลุ่มที่ ๑ คติ ความคิด ความเชื่อ และหลักการพื้นฐานขององค์แห่งความรู้คือ การประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ โดยสามารถ
ดำ รงชีวิตอยู่ได้ โดยการพึ่งพาธรรมชาติ ความคิดความเชื่อเหล่านี้จะนำมาสู่การพัฒนาชีวิตและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ได้แก่
กลุ่มที่ ๑ คติ ความคิด ความเชื่อ และหลักการพื้นฐานขององค์แห่งความรู้คือ การประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ โดยสามารถ
ดำ รงชีวิตอยู่ได้ โดยการพึ่งพาธรรมชาติ ความคิดความเชื่อเหล่านี้จะนำมาสู่การพัฒนาชีวิตและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ได้แก่
๑.๓ นิทานปรัมปราที่มีพลังเหนือธรรมชาติเป็นผู้สร้าง
คือ “แถน”แล้วส่งมนุษย์ผู้เก่งกล้าลงมาปกครอง
ในคติล้านนาพญาแถนได้ถูกเปลี่ยนมาเป็นพระอินทร์ และได้ส่ง พญาธัมมิกราชมังรายมาเกิดเพื่อเป็นผู้ปกครอง
สะท้อนภูมิปัญญาแห่งการยอมรับผู้ที่มีอำนาจเหนือกว่า
๒. ความเชื่อเกี่ยวกับอำนาจความสมบูรณ์เป้าหมายสูงสุดของชีวิตชาวล้านนา
มีความเชื่อ และพิธีกรรมที่แสดงออกถึงความปรารถนาที่จะขอให้อำนาจแห่งธรรมชาติดลบันดาลให้เกิดความอุดมสมบูรณ์
โดยเฉพาะพิธีขอฝนจึงขุดพบกลองกบ และสัญลักษณ์รูปอวัยวะเพศชายและหญิงซึ่งล้วนเป็นสัญลักษณ์ทางความเชื่อที่แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์
นอกจากนั้นยังมีพิธีกรรมที่เกี่ยวกับความอุดมสมบูรณ์ เช่น การฟังธรรมคาถาปลาช่อน
พิธีแห่นางแมว เป็นต้น
๓. ความเชื่อเกี่ยวกับการนับถือผีชาวล้านนาเชื่อว่า
“ผี”เป็นตัวแทนอำนาจเหนือธรรมชาติที่มีอิทธิพลต่อชีวิตโดยเชื่อว่าสถานที่แทบทุกแห่งมีผีให้ความคุ้มครองรักษาอยู่
ความเชื่อนี้จึงมีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิตประจำวันเห็นได้จากขนบธรรมเนียม ประเพณี
และพิธีกรรมต่างๆ การนับถือผีมีความสัมพันธ์กับการนับถือบรรพบุรุษ
ซึ่งแสดงถึงการผูกพันและเคารพนับถือ เช่น ผู้เฒ่าผู้แก่ชาวเหนือ (พ่ออุ๊ยแม่อุ๊ย) เมื่อไปวัดฟังธรรมก็จะประกอบพิธีเลี้ยงผี
คือ
จัดหาอาหารคาว-หวานเซ่นสังเวยผีปู่ย่าด้วยการนับถือผีเป็นการสะท้อนภูมิปัญญาด้านต่างๆ
เช่น ผีด้ำ คือ ผีบรรพบุรุษ
มีหน้าที่คุ้มครองเครือญาติและครอบครัวสะท้อนความกตัญญูรู้คุณผีอารักษ์หรือผีเจ้าที่เจ้าทาง
มีหน้าที่คุ้มครองบ้านเมืองและชุมชนสะท้อนความเป็นผู้นำผีเจ้าป่าเจ้าเขา
มีหน้าที่คุ้มครองเมื่อเข้าไปหาของในป่าซึ่งเป็นแหล่งอาหารของชุมชน
สะท้อนความกตัญญูของทรัพยากรป่าไม้ เป็นต้น
๔. ความเชื่อเกี่ยวกับขวัญ กลุ่มชาวไทเชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างทั้งคน
สัตว์ พืช สิ่งของต่างๆ ล้วนมีขวัญเป็นพลังชีวิต เป็นแก่นชีวิต ขวัญมีความสำคัญต่อระบบคิดและระบบความเชื่อเป็นอย่างมากจึงก่อให้เกิดพิธีกรรมต่างๆ
ที่จะทำให้ขวัญอยู่กับตัวตลอดไปเห็นได้จากการที่กลุ่มคนไทมีพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับขวัญในทุกช่วงของชีวิตตั้งแต่เกิดจนตายกลุ่มที่
๒ศิลปะ วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียม ประเพณี คือ ตัวชี้ลักษณะที่สำคัญของการแสดงออกถึงภูมิปัญญาของแต่ละท้องถิ่นซึ่งเป็นการแสดงถึงความเจริญงอกงามและความเป็นระเบียบของท้องถิ่น
เป็นวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ที่ได้ถ่ายทอดสืบต่อกันมาเฉพาะกลุ่ม ได้แก่
ประเพณีต่างๆพิธีบูชาผีปู่แสะย่าแสะ เป็นการจัดเลี้ยงให้ผีประจำปีในเดือนเก้าของชนเผ่าลัวะ ณ
บริเวณเชิงเขาดอยสุเทพซึ่งจะเป็นพิธีนำควายหนุ่มสีดามาสังเวยยักษ์ที่เป็นผีประจำเมืองโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้บ้านเมืองอยู่เย็นเป็นสุขและปลอดภัยประเพณีบูชาอินทขิล
คือการบูชาเสาหลักเมืองของชาวลัวะ ณ วัดเจดีย์หลวงวรวิหารการบูชาเสาอินทขิลจะจัดขึ้นในช่วงเริ่มเข้าสู่ฤดูฝนเป็นประจำทุกปีที่เรียกว่า
เดือน 8 เข้า เดือน 9
ออกซึ่งจะมีพิธีใส่ขันดอกไม้ในตอนกลางคืนเหมือนกับการใส่บาตรดอกไม้จุดมุ่งหมายเพื่อให้บ้านเมืองก็สงบสุขและเจริญรุ่งเรืองประเพณีสืบชะตา
การทำพิธีสืบชะตาจะช่วยต่ออายุให้ตน เอง ญาติพี่น้องและบ้านเมืองให้ยืนยาว ทำให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองและความเป็นสิริมงคลประเพณีปอยน้อยเป็นประเพณีบวชหรือการบรรพชาของชาวเหนือจะมีชื่อเรียกต่างกันในบางท้องถิ่น
เช่น ปอยน้อย ปอยบวชปอยลูกแก้ว ปอยส่างลอง นิยมจัดภายในเดือนกุมภาพันธ์หรือมีนาคมประเพณีบวชลูกแก้วที่มีชื่อเสียงคือประเพณีบวชลูกแก้ว
ที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน
วัฒนธรรมความเป็นอยู่
จะอาศัยอยู่บนที่สูง (ดอย) และที่ราบหุบเขามีการร่วมมือกันในการทำให้มีการชลประทาน เหมืองฝายทดน้ำและขุดเหมืองจากบริเวณล้านาหรือธารน้ำนั้น เข้าไปเลี้ยงที่นาและเพื่อการใช้น้ำของชุมชน
จะอาศัยอยู่บนที่สูง (ดอย) และที่ราบหุบเขามีการร่วมมือกันในการทำให้มีการชลประทาน เหมืองฝายทดน้ำและขุดเหมืองจากบริเวณล้านาหรือธารน้ำนั้น เข้าไปเลี้ยงที่นาและเพื่อการใช้น้ำของชุมชน
วัฒนธรรมการละเล่น
คำว่า “การละเล่น” หมายถึง การกระทำ าหรือกิจกรรมใด ๆ ที่ก่อให้เกิดความสนุกสนานรื่นเริงบันเทิงใจ ซึ่งมักมีกติกาการเล่นหรือการแข่งขันง่าย ๆ ไม่สลับซับซ้อนมากนัก จุดประสงค์ส่วนใหญ่ มุ่งเพื่อให้เกิดความสนุกสนาน เพื่อออกก าลังกาย และก่อให้เกิดความสามัคคี แสดงถึงเชาว์ปัญญา จินตนาการ มีวินัย เช่น
คำว่า “การละเล่น” หมายถึง การกระทำ าหรือกิจกรรมใด ๆ ที่ก่อให้เกิดความสนุกสนานรื่นเริงบันเทิงใจ ซึ่งมักมีกติกาการเล่นหรือการแข่งขันง่าย ๆ ไม่สลับซับซ้อนมากนัก จุดประสงค์ส่วนใหญ่ มุ่งเพื่อให้เกิดความสนุกสนาน เพื่อออกก าลังกาย และก่อให้เกิดความสามัคคี แสดงถึงเชาว์ปัญญา จินตนาการ มีวินัย เช่น
ชนกว่าง
ฤดูกาลเล่นชนกว่าง จะเริ่มต้นตั้งแต่กลางฤดูฝนไปจนถึงต้นฤดูหนาว
โดยชาวบ้านจะไปจับตามกอไม้รวก ด้วยการเขย่าให้ตกลงมา ถ้าเห็นว่ามีลักษณะดีตรงตามชนิดที่จะสามารถนำมาเลี้ยงไว้ชนได้ก็จะนำมาเลี้ยง
โดยให้อาหารจำพวกหน่อไม้ ลูกบวบ กล้วยสุก อ้อย
ไก่ชนมะม่วง เป็นการละเล่นที่เล่นได้ทุกโอกาสในฤดูที่มะม่วงเริ่มออกผล
ให้ความสนุกสนาน ส่วนมากจะเป็นการละเล่นของเด็กผู้ชาย สอนให้ผู้เล่นมีน้ำใจนักกีฬา
รู้แพ้รู้ชนะ และรู้ระเบียบวินัยของการเล่นด้วยกัน
และเป็นการสร้างความสามัคคีต่อการรวมกลุ่ม
วัฒนธรรมดนตรีพื้นบ้าน
ส่วนมากเกิดขึ้นและพัฒนาในสังคมเกษตรกรรม มีลักษณะที่ไม่มีระบบกฎเกณฑ์ชัดเจนตายตัว ประกอบกับใช้วิธีถ่ายทอดปากและการจดจำ ในอดีตผู้หญิงมักนิยมใช้เวลาว่างในตอนกลางคืนให้เป็นประโยชน์ โดยการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์พืชเพื่อเตรียมไปเพาะปลูกในวันรุ่งขึ้น บริเวณนั้นจึงกลายเป็นจุดศูนย์กลางและการดึงดูดความสนใจของหนุ่มจนกลายเป็นศูนย์รวม “นักแอ่วสาว” ดนตรีคู่กายชายหนุ่มย่อมนำมาใช้ตามความถนัด สันนิฐานว่าคงมีการนัดหมายเพื่อให้มาบรรเลง แนวเดียวกัน จึงเป็นการพัฒนาการขั้นแรกของการผสมวงดนตรี กลุ่มนักแอ่วสาวตามลานบ้านประกอบด้วยเครื่องดนตรี เปี๊ยะ สะล้อ ซึง ขลุ่ย ปี่ กลองพื้นเมือง (กลองโป่ง) จึงกลายเป็นดนตรีพื้นบ้านภาคเหนือโดยปริยาย นิยมเรียกตามชนิดของเครื่องดนตรีที่นำมาผสมเป็นวงว่า “วงสะล้อซอซึง
ส่วนมากเกิดขึ้นและพัฒนาในสังคมเกษตรกรรม มีลักษณะที่ไม่มีระบบกฎเกณฑ์ชัดเจนตายตัว ประกอบกับใช้วิธีถ่ายทอดปากและการจดจำ ในอดีตผู้หญิงมักนิยมใช้เวลาว่างในตอนกลางคืนให้เป็นประโยชน์ โดยการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์พืชเพื่อเตรียมไปเพาะปลูกในวันรุ่งขึ้น บริเวณนั้นจึงกลายเป็นจุดศูนย์กลางและการดึงดูดความสนใจของหนุ่มจนกลายเป็นศูนย์รวม “นักแอ่วสาว” ดนตรีคู่กายชายหนุ่มย่อมนำมาใช้ตามความถนัด สันนิฐานว่าคงมีการนัดหมายเพื่อให้มาบรรเลง แนวเดียวกัน จึงเป็นการพัฒนาการขั้นแรกของการผสมวงดนตรี กลุ่มนักแอ่วสาวตามลานบ้านประกอบด้วยเครื่องดนตรี เปี๊ยะ สะล้อ ซึง ขลุ่ย ปี่ กลองพื้นเมือง (กลองโป่ง) จึงกลายเป็นดนตรีพื้นบ้านภาคเหนือโดยปริยาย นิยมเรียกตามชนิดของเครื่องดนตรีที่นำมาผสมเป็นวงว่า “วงสะล้อซอซึง
วัฒนธรรมเกี่ยวกับอาหารการกิน
นิยมรับประทานข้าวเหนียวเป็นหลัก จึงมีภาชนะที่เรียกว่า"หวด"
นิยมรับประทานข้าวเหนียวเป็นหลัก จึงมีภาชนะที่เรียกว่า"หวด"
อาหารคาว
ภาคเหนือมีการผสมผสานวัฒนธรรมการกินจากหลายกลุ่มชน เช่น ไทใหญ่ จีนฮ่อ ไทลื้อ และคนพื้นเมือง รสชาติของอาหารจึงมีรสกลาง ๆ มีรสเค็มนำเล็กน้อย รสเปรี้ยว หวานมีน้อยมากอาหารของภาคเหนือ ประกอบด้วยข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก มีน้ำพริกชนิดต่าง ๆ เช่น น้ำพริกหนุ่ม น้ำพริกอ่อง ข้าวซอย แหนม ไส้อั่ว แคบหมู
ภาคเหนือมีการผสมผสานวัฒนธรรมการกินจากหลายกลุ่มชน เช่น ไทใหญ่ จีนฮ่อ ไทลื้อ และคนพื้นเมือง รสชาติของอาหารจึงมีรสกลาง ๆ มีรสเค็มนำเล็กน้อย รสเปรี้ยว หวานมีน้อยมากอาหารของภาคเหนือ ประกอบด้วยข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก มีน้ำพริกชนิดต่าง ๆ เช่น น้ำพริกหนุ่ม น้ำพริกอ่อง ข้าวซอย แหนม ไส้อั่ว แคบหมู
ข้าวซอย |
น้ำพริกหนุ่ม |
ขนมหวาน
ขนมภาคเหนือส่วนใหญ่จะทำจากข้าวเหนียว และจะใช้วิธีการต้ม เช่น ขนมเทียน ขนมวง ข้าวต้มหัวหงอก มักทำกันในเทศกาลสำคัญ เช่น เข้าพรรษา สงกรานต์ ขนมที่นิยมทำในงานบุญเกือบทุกเทศกาล คือ ขนมจ๊อก (ขนมนมสาวหรือขนมเทียน)
ขนมภาคเหนือส่วนใหญ่จะทำจากข้าวเหนียว และจะใช้วิธีการต้ม เช่น ขนมเทียน ขนมวง ข้าวต้มหัวหงอก มักทำกันในเทศกาลสำคัญ เช่น เข้าพรรษา สงกรานต์ ขนมที่นิยมทำในงานบุญเกือบทุกเทศกาล คือ ขนมจ๊อก (ขนมนมสาวหรือขนมเทียน)
ข้าวต้มหัวหวอก |
ขนมวง |
ขนมจ๊อก |
ที่มา www.tatc.ac.th/files/110528099292991_13120821214434.pdf
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น